สมาชิกเข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกใหม่ | ลืมรหัสผ่าน
กลับไปหน้าแรก
มหาเวทย์ 63 สาขา แรก
ขายพระงั่ง แม่เป๋อ
หน้ารวมสินค้า
คลิกเพื่ออ่านศูนย์รวมความรู้
คลิปVDOให้ความรู้
ห้องพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้
วิธีชำระเงิน
ติดต่อ-สั่งซื้อ
สมัครสมาชิก
สถิติผู้เข้าชม
 ขณะนี้มีผู้เข้าใช้ 6
 ผู้เข้าชมในวันนี้ 538
 ผู้เข้าชมทั้งหมด 10,147,291
 เปิดเว็บ 26/03/2557
 ปรับปรุงเว็บ 15/11/2567
 สินค้าทั้งหมด 444
22 ธันวาคม 2567
อา จ. อ. พ. พฤ ศ. ส.
10  11  12  13  14 
15  16  17  18  19  20  21 
22  23  24  25  26  27  28 
29  30  31         
             
รู้จักเว็บ มหาเวทย์63 จากที่ไหน
# google
# นิตยสาร
# มีคนแนะนำมา
# ได้รู้จักจากคำบอกเล่า
# พบเจอโดยบังเอิญ
การหล่อพระงั่งสมัยโบราณ
[2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]จำนวนผู้เข้าชม 22866 คน

การหล่อแบบโบราณ หล่อเบ้าประกบ 

เป็นการหล่อแบบโบราณ ที่มีลักษณะคล้ายกับการหล่อช่อ แต่เป็นการหล่อที่ละองค์ หรืออาจจะมี 2-3 องค์แล้วแต่สูตรช่าง 
แต่ละแม่พิมพ์จะได้เพียงไม่กี้องค์เท่านั้น สาเหตุนี้จึงทำให้พระงั่งโบราณในแต่ละองค์
(ถึงเป็นพิมพ์เดียวกันจึงมีจุดที่ไม่เหมือนกัน จรึงไม่เหมือนการหล่อสมัยใหม่ที่พิมพ์แต่ละพิมพ์จะออกมาเหมือนกันทั้งหมด )
เริ่มจากแกะพิมพ์หรือขึ้นรูปพระลงใน วัสดุที่มีลักษณะแข็งและทนความร้อน อาจจะเป็นหิน เหล็ก หรือดิน แล้วแต่สูตรช่างเบ้าแบ่งเป็นด้านหน้า-หลัง ซึ่งโดยมากแล้วหากเป็นเบ้าที่ความคงทน องค์พระที่ได้จะมีรายละเอียดคล้ายๆกัน การหล่อพระวิธีนี้มีข้อดีคือ ไม่ต้องขึ้นรูปหุ่นเทียน แต่หล่อได้ครั้งละจำนวนน้อยมาก



 

จากนั้นนำเบ้าหน้าหลังมาประกบ มีช่องเปิดสำหรับกรอกเทโลหะลงไป รอโลหะแข็งตัวแล้วแกะเบ้า พระที่ได้จากการหล่อเบ้าประกบจะมี ครีบ หรือเนื้อโลหะที่ แล็ด ออกมาระหว่างช่องประกบของเบ้าซึ่งจะมีการตกแต่งเก็บ และรวมถึงแต่งช่องชนวนที่โลหะเข้าสู่เบ้าด้วย

 

องค์พระต้นแบบ อาจจะเป็น ไม้,เขา,หรือหิน 

 


นำองค์พระต้นแบบไปกดบนดินเบ้า ด้านหน้า/หลัง ตกแต่งเบ้า อาจจะมีการตกแต่งส่วนที่เป็นองค์พระบ้าง ตกแต่งช่องชนวน เพื่อเทโลหะ และหากมองลักษณะดินที่ทำแบบ ความคงทนน่าจะน้อยดังนั้นในแบบหนึ่งๆ อาจจะหล่อได้แค่ครั้งหรือสองครั้ง แต่ในครั้งสองครั้ง ที่หล่อนั้นองค์พระน่าจะมีแค่ความคล้าย จะไม่มีความเหมือน เพราะเมื่อหล่อครั้งแรกแล้ว แบบพิมพ์ที่เบ้า หรือรายละเอียดที่มี จะหลุดติดไปกับองค์พระที่เป็นเนื้อโลหะ ที่ปรากฏอยู่บนพระที่เราเรียกว่า ดินขี้เบ้า ทำให้เกิดร่องรอยที่ดินหลุดหายไป ถึงตรงนี้ผมว่าดีไม่ดี อาจจะหนึ่งเบ้าต่อการหล่อหนึ่งครั้งก็เป็นได้ ฉนั้นพระจึงมีความคล้าย ไม่มีความเหมือน คือเหมือนคนแหละสองมือ สองขา แต่ดูละคนจะไม่เหมือนกัน



ของมูลจริง
อ้างอิงจากประวัติศาสตร์

________________________



The construction of Phra Ngang in ancient times


antique casting Casting a socket

is an ancient casting that resembles a bouquet of castings But it is casting one by one, or there may be 2-3 bodies depending on the craftsman's formula.
Each mold will only get a few pieces. This is the reason why each of the ancient Buddha images
(Even though they are the same type, they have different points. Actually, unlike modern castings, each print will come out exactly the same )
Start from carving or forming an amulet in Hard and heat resistant materials may be stone, steel or clay, depending on the formula of the bao, divided into front and back. which, in most cases, if it is a durable socket The resulting amulet will have similar details. There are advantages to casting amulets in this way. No need to form a candle but can cast a very small amount at a time



 

Then bring the front and back socket to join. There is an opening for pouring metal into it. Wait for the metal to harden and then open the socket. The amulet made from the casting of the socket, will have fins or metal that slides out between the socket of the socket, which will be decorated. and including decorating the slate channel through which the metal enters the socket

 


The original Buddha image could be a tree, a horn, or a stone.

 

Bring the prototype Buddha image to press on the soil. Front / back decorated with sockets. There may be some decorations of the Buddha image. Decorate the slate channel to pour metal and if looking at the characteristics of the soil made in the form Durability is probably less, so in a way. Might be handsome only once or twice. but on two occasions That handsome Buddha image should have only similarities. There will be no similarity because when casting for the first time Crazy print or details that have will fall off with the Buddha image that is metal that appears on the amulet that we call the soil, causing the traces of the land to disappear At this point, I think it's good or not. Maybe one socket per casting. Therefore, monks are similar no similarities It's like a person with two hands and two legs, but not everyone looks the same.



real facts based on history


 
วิธีใช้พระงั่ง เกร็ดความรู้พระงั่ง
- คาถาแม่เป๋อพ่อเป๋อ依霸功效 [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- พระงั่งไม่เซ่นไหว้จะเป็นอะไรไหม? [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- !ทำไมพระงั่งกลายเป็นสีรุ้ง? [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- พระงั่งตาแดงทองแดงเถื่อน เก่าแท้ดูยังไง? [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- ประวัติ และ ตำนาน พระงั่ง 帕嬰歷史 บทที่ 1 [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- ฝรั่งยิง พระงั่ง [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- ทำไมฉันถึงใช้พระเครื่องรางไม่ได้ผล? [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- พระงั่งสัมฤทธิ์ทองดอกบวบ สนิมสีแตงไทยเป็นยังไง [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- พระงั่งคุณเป็นแบบไหน? พระงั่งแท้ๆมีอยู่กี่สภาพ? [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
- วิธีทำให้ "พระงั่งแรง" [2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]
ดูทั้งหมด

Copyright by mahawed63.net
Engine by MAKEWEBEASY