|
 |
 |
 |
 |
 |
 |
 |
 |
 |
 |
สถิติผู้เข้าชม
|
ขณะนี้มีผู้เข้าใช้
|
3
|
ผู้เข้าชมในวันนี้
|
434
|
ผู้เข้าชมทั้งหมด
|
5,994,218
|
เปิดเว็บ
|
26/03/2557
|
ปรับปรุงเว็บ
|
19/01/2564
|
สินค้าทั้งหมด
|
275
|
|
|
23 มกราคม 2564
|
อา |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ |
ศ. |
ส. |
| | | | |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 |
31 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การหล่อพระงั่งสมัยโบราณ
[2 พฤศจิกายน 2557 03:42 น.]จำนวนผู้เข้าชม 17195 คน |
|

การหล่อแบบโบราณ หล่อเบ้าประกบ
เป็นการหล่อแบบโบราณ ที่มีลักษณะคล้ายกับการหล่อช่อ แต่เป็นการหล่อที่ละองค์ หรืออาจจะมี 2-3 องค์แล้วแต่สูตรช่าง
แต่ละแม่พิมพ์จะได้เพียงไม่กี้องค์เท่านั้น สาเหตุนี้จึงทำให้พระงั่งโบราณในแต่ละองค์
(ถึงเป็นพิมพ์เดียวกันจึงมีจุดที่ไม่เหมือนกัน จรึงไม่เหมือนการหล่อสมัยใหม่ที่พิมพ์แต่ละพิมพ์จะออกมาเหมือนกันทั้งหมด )
เริ่มจากแกะพิมพ์หรือขึ้นรูปพระลงใน วัสดุที่มีลักษณะแข็งและทนความร้อน อาจจะเป็นหิน เหล็ก หรือดิน แล้วแต่สูตรช่างเบ้าแบ่งเป็นด้านหน้า-หลัง ซึ่งโดยมากแล้วหากเป็นเบ้าที่ความคงทน องค์พระที่ได้จะมีรายละเอียดคล้ายๆกัน การหล่อพระวิธีนี้มีข้อดีคือ ไม่ต้องขึ้นรูปหุ่นเทียน แต่หล่อได้ครั้งละจำนวนน้อยมาก
จากนั้นนำเบ้าหน้าหลังมาประกบ มีช่องเปิดสำหรับกรอกเทโลหะลงไป รอโลหะแข็งตัวแล้วแกะเบ้า พระที่ได้จากการหล่อเบ้าประกบจะมี ครีบ หรือเนื้อโลหะที่ แล็ด ออกมาระหว่างช่องประกบของเบ้าซึ่งจะมีการตกแต่งเก็บ และรวมถึงแต่งช่องชนวนที่โลหะเข้าสู่เบ้าด้วย
องค์พระต้นแบบ อาจจะเป็น ไม้,เขา,หรือหิน
นำองค์พระต้นแบบไปกดบนดินเบ้า ด้านหน้า/หลัง ตกแต่งเบ้า อาจจะมีการตกแต่งส่วนที่เป็นองค์พระบ้าง ตกแต่งช่องชนวน เพื่อเทโลหะ และหากมองลักษณะดินที่ทำแบบ ความคงทนน่าจะน้อยดังนั้นในแบบหนึ่งๆ อาจจะหล่อได้แค่ครั้งหรือสองครั้ง แต่ในครั้งสองครั้ง ที่หล่อนั้นองค์พระน่าจะมีแค่ความคล้าย จะไม่มีความเหมือน เพราะเมื่อหล่อครั้งแรกแล้ว แบบพิมพ์ที่เบ้า หรือรายละเอียดที่มี จะหลุดติดไปกับองค์พระที่เป็นเนื้อโลหะ ที่ปรากฏอยู่บนพระที่เราเรียกว่า ดินขี้เบ้า ทำให้เกิดร่องรอยที่ดินหลุดหายไป ถึงตรงนี้ผมว่าดีไม่ดี อาจจะหนึ่งเบ้าต่อการหล่อหนึ่งครั้งก็เป็นได้ ฉนั้นพระจึงมีความคล้าย ไม่มีความเหมือน คือเหมือนคนแหละสองมือ สองขา แต่ดูละคนจะไม่เหมือนกัน

ของมูลจริงอ้างอิงจากประวัติศาสตร์ |
|
|