|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สถิติผู้เข้าชม
|
ขณะนี้มีผู้เข้าใช้
|
7
|
ผู้เข้าชมในวันนี้
|
1,189
|
ผู้เข้าชมทั้งหมด
|
10,146,716
|
เปิดเว็บ
|
26/03/2557
|
ปรับปรุงเว็บ
|
15/11/2567
|
สินค้าทั้งหมด
|
444
|
|
|
21 ธันวาคม 2567
|
อา |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ |
ศ. |
ส. |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 |
31 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การพิจารณาดินขอบฐานพระงั่ง
[26 มกราคม 2564 11:04 น.]จำนวนผู้เข้าชม 3741 คน |
|
การพิจารณาดินใต้ฐานพระงั่ง
พระงั่ง เป็นเครื่องรางที่มีอายุเก่ามายาวนานที่สุดเท่าที่ประวัติศาสตร์ได้มีการหลงเหลือไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็นและได้มีไว้เพื่อบูชาได้ศึกษาพิจารณากันได้ในวันนี้ เพราะฉนันการที่มีไว้ในครอบครองจากรุ่นสู่รุ่น บางองค์จะผ่านการผุการซ่อมมาบ้างเป็นธรรมดา ณจุดนี้เราจะมาว่ากันถึงเรื่องดินใต้ฐานเก่า ในของทำเลียนแบบดินเก่าโดยเจตนาโดยการอุดดินใส่รายระเอียดความแท้ลงไป เช่น
1.การทำให้เหมือนดินหลุดไปเองโดยธรรมชาติ จุดนี้เราต้องดูมิติดินใต้ฐานให้เป็นคือความตื้นลึกหนาบางของผิวดินที่สามารถเกิดโดยความตั้งใจของคนจุดสังเกตอาทิเช่นตั้งใจให้เหมือนดินเดิมหรือเหมือนดินธรรมชาติที่อุดเก่าเดิม สามารถทำดินได้มีความคล้ายคลึงมีความสึกของดินได้ (แต่กลับมีดินสีเดียวกันชนิดเดียวกันล้นขอบฐานพระขึ้นมา) จุดนี้ผิดมาตรฐานพระเก่าแท้และสามารถนำจุดนี้เป็นองค์ประกอบเพื่อพิจารณาด้วยตัวเองได้ครับ แต่หากเป็นการอุดซ่อมดินใต้ฐานมาก็ต้องเปลียนไปพิจารณาในส่วนอื่นๆขององค์พระนั้นแทนครับเพื่อหาองค์ประกอบอื่นๆต่อไป..
26 มกราคม 2019 ภัทร์ มหาเวทย์
|
|
|