|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สถิติผู้เข้าชม
|
ขณะนี้มีผู้เข้าใช้
|
5
|
ผู้เข้าชมในวันนี้
|
1,193
|
ผู้เข้าชมทั้งหมด
|
10,146,720
|
เปิดเว็บ
|
26/03/2557
|
ปรับปรุงเว็บ
|
15/11/2567
|
สินค้าทั้งหมด
|
444
|
|
|
21 ธันวาคม 2567
|
อา |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ |
ศ. |
ส. |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 |
31 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
"พระงั่ง" กับรอยตะไบโบราณ
[26 มกราคม 2564 21:25 น.]จำนวนผู้เข้าชม 3369 คน |
|
#การพิจารณาพระงั่ง " ร่องรอยกาลเวลา "
๑. ความโค้งมน ผิวลื่น เสมอกันทั้งองค์พระ
๒. รอยตะไบโบราณ สมัยนั้นมักใช้ตะไบจีนซึ่งรอยตะไบค่อนข้างใหญ่และหยาบ และ มีรอยเส้นเล็กใหญ่ไม่เสมอกัน ที่สำคัญพระงั่งเป็นพระใช้งานหนัก รอยตะไบที่ใหญ่และหยาบจะต้องสึกจางหายไปบ้างไม่มากก็น้อย และจะไม่มีความคมของรอยตะไบหลงเหลืออยู่เลยแม้แต่น้อยในรอยตะไบที่สึกจะต้องขึ้นสนิมหรือขึ้นความหมองคล้ำของผิวพระ ให้เห็นลายเส้นตะไบได้อย่างชัดเจน
รอยตะไบโบราณแท้ จะต้องไม่เป็นเส้นแข็งเสมอกัน หรือ ร่องตะไบมีความถี่เสมอกัน
๓. ผิวสนิมที่ขึ้นเป็นเม็ดผด ไล้ระดับสีของสนิมหลายสีอย่างเป็นธรรมชาติ และถูกต้อง
ถ้าหากเห็นว่าบทความนี้มีประโยชน์เป็นความรู้เพื่อการศึกษา ช่วยกันแชร์เผยแพร่ คนละไม้คนละมือ เพื่อเป็นวิทยาทาน และจะเป็นกำลังใจให้กับทางสมาคมอีกด้วยครับ ขอบคุณครับ
|
|
|